มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมแล้ว 0 คน

ประชามติรัฐธรรมนูญ
สำคัญอย่างไร

การจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เป็นภารกิจสำคัญในการฟื้นฟูประชาธิปไตย

การติด “กระดุมเม็ดแรก” ด้วยการจัดทำประชามติเพื่อสอบถามประชาชนว่า อยากให้มีการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่หรือไม่ จะทำให้กระบวนการ มีความชอบธรรมทางประชาธิปไตย โอบรับจุดยืนที่แตกต่างของทุกฝ่าย และนำไปสู่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้จริง

ทำไมต้อง
1 + 2 คำถาม

1. คำถามเปิดกว้าง เพื่อถามความเห็นประชาชนต่อทิศทางภาพรวม โดยไม่มีเงื่อนไขปลีกย่อยที่ทำให้ใครเห็นด้วยกับบางส่วน แต่ไม่เห็นด้วยกับบางส่วนของคำถาม

2. คำถามเจาะจง เพื่อถามความเห็นประชาชนโดยตรงเกี่ยวกับ รายละเอียดของกระบวนการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ที่ฝ่ายการเมืองยังคงมีความเห็นที่แตกต่าง

ลองสัมผัสประสบการณ์
ประชามติแรกที่เป็นธรรม
กับ “สนามจำลองประชามติ” กัน

หมายเหตุ ใช้นิ้ว หรืออุปกรณ์อื่นๆ เช่น เมาส์ เพื่อทำเครื่องหมายกากบาทในช่องทำเครื่องหมาย

บัตรออกเสียงประชามติจำลอง

ประเด็น “เห็นชอบหรือไม่ ว่าควรมีการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) (โดยไม่เป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และไม่เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของรัฐ)”

ประเด็นที่ ๑    โปรดทำเครื่องหมายกากบาท
ในช่องทำเครื่องหมายเพียงเครื่องหมายเดียว

เห็นชอบ

ควรมีการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดย สสร.
ช่องทำเครื่องหมาย

ไม่เห็นชอบ

ไม่ควรมีการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดย สสร.
(รอยพับ)

 

ประเด็นเพิ่มเติม “เห็นชอบหรือไม่ ว่า สสร. ควรมาจากการเลือกตั้งของประชาชนทั้งหมด”

ประเด็นที่ ๒    โปรดทำเครื่องหมายกากบาท
ในช่องทำเครื่องหมายเพียงเครื่องหมายเดียว

เห็นชอบ

สสร. ควรมาจากการเลือกตั้งของประชาชนทั้งหมด
ช่องทำเครื่องหมาย

ไม่เห็นชอบ

สสร. ไม่ควรมาจากการเลือกตั้งของประชาชนทั้งหมด
(รอยพับ)

 

ประเด็นเพิ่มเติม “เห็นชอบหรือไม่ ว่า สสร. ควรมีอำนาจพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ทุกหมวด (ตราบใดที่ไม่เป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และไม่เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของรัฐ)”

ประเด็นที่ ๓    โปรดทำเครื่องหมายกากบาท
ในช่องทำเครื่องหมายเพียงเครื่องหมายเดียว

เห็นชอบ

สสร. ควรมีอำนาจพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ทุกหมวด
ช่องทำเครื่องหมาย

ไม่เห็นชอบ

สสร. ไม่ควรมีอำนาจพิจารณาร่างเนื้อหาในหมวด ๑ (บททั่วไป) และ หมวด ๒ (พระมหากษัตริย์) ในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ให้ต่างจากเนื้อหาในหมวด ๑ และหมวด ๒ ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๖๐